WOMEN’S HORMONE & ANTI-AGING
ร่างกายของผู้หญิงวัย 30+ จะอยู่ภายใต้การควบคุมของฮอร์โมน โดยเฉพาะการทำงานของระบบต่างๆในร่างกาย หมายความว่าหากระดับฮอร์โมนของคุณขาดสมดุล มีปริมาณมากหรือน้อยเกินไป อาจก่อให้เกิดหลากหลายปัญหาสุขภาพ อาทิ รอบเดือนผิดปกติ ปัญหาการมีบุตรยาก อารมณ์แปรปรวนและอื่นๆ เนื่่องจากอายุที่ยังไม่มาก จึงยังไม่ตระหนักถึงอาการเหล่านี้ ที่อาจเป็นผลมาจากภาวะฮอร์โมนขาดความสมดุล และปล่อยให้อาการที่ผิดปกติเหล่านี้ผ่านเลยไปโดยไม่ได้รับการฟื้นฟูดูแล อย่างไรก็ดี ลองมาดูกันว่าฮอร์โมนหลัก ๆ ที่มีผลต่อร่างกายของผู้หญิง ประกอบด้วยอะไรบ้าง
Woman's Hormone check up
-
Estrogen E2
เป็นฮอร์โมนเพศหญิงที่ร่างกายเราสามารถผลิตได้เอง
-
Progesterone
ตรวจระดับฮอร์โมน Progesterone เป็นฮอร์โมนเพศหญิงที่เกี่ยวข้องกับประจำเดือนและการตั้งครรภ์
-
Testosterone
ฮอร์โมนTestosteroneเป็นฮอร์โมนสเตียรอยด์ที่พบในทั้งผู้ชายและผู้หญิง โดยมีบทบาทสำคัญในการเจริญเติบโต การทำงาน และการดูแลเนื้อเยื่ออวัยวะ เจริญพันธุ์ต่างๆ สำหรับผู้หญิง
-
Thyroid Hormone free T3
สร้างจากต่อมไทรอยด์ โดยปกติจะผลิตออกมาน้อยกว่า T4 แต่จะแอคทีฟน้อยกว่า T4 ถึง 10 เท่า
-
Thyroid Hormone free T4
สร้างจากต่อมไทรอยด์
-
DHEA
เป็นฮอร์โมนที่บ่งบอกถึงภาวะชรา และมีความสามารถช่วยต้านความชรา ลดการสะสมของไขมัน เพิ่มภูมิคุ้มกันให้แก่ร่างกาย
-
LH
ฮอร์โมนนี้เกี่ยวกับการสืบพันธุ์ที่จะกระตุ้นออกมาช่วงตกไข่ถ้าใครไม่มีฮอร์โมน นี้ก็จะไม่สามารถมีลูกได้ แต่ถ้ามีค่า LH สูงก็อาจจะเป็นซีสต์ในรังไข่ได้
-
FSH
เป็นฮอร์โมนที่กระตุ้นให้ไข่สุก ถ้าไม่มีตัวนี้ก็จะทำให้เป็นหมันได้
-
Vit D
ช่วยในการดูดซึมแคลเซียมและฟอสฟอรัสจากอาหาร และรักษาระดับแร่ธาตุ ดังกล่าวในเลือดให้เป็นปกติ
-
TSH
เป็นฮอร์โมนที่สร้างจากต่อมใต้สมอง ทำหน้าที่กระตุ้นให้ต่อมไทรอยด์ให้สร้าง ฮอร์โมน T3 (triiodothyronine) และ T4 (thyroxine) เพื่อใช้ในการเผาผลาญ พลังงานของร่างกาย
-
CBC
คือการตรวจเลือดวิธีหนึ่งที่ใช้วัดสุขภาพโดยรวมของผู้ป่วยได้ส่วนหนึ่ง
-
G6PD
G6PDเป็นชื่อย่อของเอมไซม์ กลูโคส-ซี-ฟอสเฟตดีไฮไดรจิเนส ซึ่งเป็นเอนไซม์ ที่มีอยู่ในเม็ดเลือดแดง มีประโยชน์ในการป้องกันการทำลายของเม็ดเลือดแดง จากยาหรือสารเคมีบางชนิด และทำให้เซลล์ต่างๆในร่ายกาย รวมทั้งทำให้เม็ด เลือดแดงแข็งแรง
Free ตรวจ Biomarker มะเร็ง 5 รายการ
-
Alpha Fetoprotein (AFP)(BGH)
เป็นการตรวจทางชีวเคมีที่ใช้กันอย่างแพร่หลายมากที่สุดสำหรับการวินิจฉัยโรคมะเร็งตับ
-
Carcinoembryonic Antigen (CEA)(BGH)
ตรวจค้นหาค่าโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ เป็นแอนติเจนในกลุ่ม Oncofetal antigen ชนิดหนึ่ง ซึ่งเป็น serum glycoprotein ที่มี molecular weight 180 kd สร้างเป็นปกติจาก เซลล์ลำไส้ ตับ และตับอ่อนของ ทารกในครรภ์ที่มีอายุครรภ์ประมาณ 2-6 เดือน ในคนปกติสามารถ ตรวจพบ CEA สูงได้เล็กน้อยในคนที่สูบบุหรี่, หญิงตั้งครรภ์ที่มีอายุ ครรภ์ไม่เกิน 6 เดือน
-
Cancer Antigen 125 (Ovary Cancer)
คือ โปรตีนชนิดหนึ่ง ที่เป็นสารบ่งชี้ในการตรวจ มะเร็งลำไส้ใหญ่ CEA ใช้ในการตรวจวินิจฉัยและตรวจประเมินผลการรักษาโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ ซึ่งเป็นไกลโคโปรตีน ( Glycoprotein ) ชนิดหนึ่ง ไกลโคโปรตีน (Glycoprotein ) มีบทบาทในการจดจำเซลล์เป้าหมายของเชื้อก่อโรค หากเจาะเลือดไปตรวจค่าเลือด แล้วพบการหลั่งสาร CEA มากกว่าค่าปกติ อาจเป็นมะเร็งลำไส้ใหญ่ได้
-
Cancer Antigen 15-3 (Breast Cancer)
คือ สารโปรตีน ( Glycoprotein ) ที่หลั่งจากเซลล์เนื้อเยื่อที่มีความผิดปกติ โดยเฉพาะจากเซลล์มะเร็งของเต้านมซึ่งใช้ในการวัดค่าเพื่อหามะเร็งเต้านม หรือเพื่อติดตามผลการรักษามะเร็งเต้านมที่มีการแพร่กระจาย และการกลับเป็นใหม่ของโรคหลังการรักษา แต่ไม่นิยมใช้ในมะเร็งเต้านม ระยะแรกเริ่ม
-
Carbohydrate Antigen 19-9 (Digestive Tract)
คือ สารที่ใช้ในการวัดค่า มะเร็งทางเดินอาหาร ซึ่งจะใช้วิธีการตรวจเลือด เพื่อคัดกรอง โดยโรคมะเร็งที่นิยมตรวจด้วยวิธีนี้คือ มะเร็งลำไส้ใหญ่ มะเร็งกระเพาะอาหาร มะเร็งท่อน้ำดีและมะเร็งตับอ่อน เป็นต้น
Product lists
Perimenopause & Menopause
ระยะเริ่มต้นของวัยหมดประจำเดือน (Perimenopause) เป็นช่วงเวลาก่อนวัยหมดประจำเดือน (Menopause) โดยจะกินระยะเวลา 4-5 ปี ซึ่งฮอร์โมนเริ่มขาดความสมดุล ระดับฮอร์โมนเอสโตรเจนและฮอร์โมนโพรเจสเตอโรนมีการแปรปรวน ส่วนใหญ่เกิดจากการมีระดับฮอร์โมนเอสโตรเจนมากเกินไปและระดับฮอร์โมนโพรเจสเตอโรนน้อยเกินไป ทำให้เกิดอาการทางร่างกายและจิตใจได้
ตัวอย่าง อาการทางร่างกาย
ประจำเดือนมาไม่สม่ำเสมอ
ช่องคลอดแห้ง ความรู้สึกทางเพศลดลง เจ็บปวดขณะร่วมเพศ
มีอาการร้อนวูบวาบ เหงื่อออกตอนกลางคืน
รู้สึกหนาวและร้อนผิดปกติ
ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ
วัยทอง (Menopause) คือ ภาวะที่สตรีเข้าสู่วัยหมดประจำเดือน โดยรังไข่จะหยุดสร้างฮอร์โมนเพศหญิงที่มีชื่อว่า เอสโตรเจนและโปรเจสเตอโรน ส่งผลให้ไม่มีประจำเดือน ถ้าประจำเดือนขาดหายไปครบ 1 ปี แสดงว่ารังไข่ได้หยุดทำงานแล้ว และถือว่าได้เข้าสู่วัยทองอย่างสมบูรณ์ โดยอายุเฉลี่ยที่ผู้หญิงไทยเข้าสู่วัยทองประมาณ 45-52 ปี
Golden Placenta Therapy
ประโยชน์ของ Placenta
1. รักษาอาการวัยทองทั้งในผู้หญิงและผู้ชาย
2.ปรับสมดุลฮอร์โมน ระบบภูมิต้านทาน เสริมสร้างมวลกล้ามเนื้อ และลดไขมันส่วนเกิน
3.กระตุ้นการไหลเวียนโลหิต
4.ลดอาการอักเสบ
5.ผิวพรรณ เต่งตึง เปล่งปลั่ง นุ่มนวล ลดริ้วรอย ย้อนวัย
6.คืนความเป็นหนุ่มสาว
ผลที่คาดว่าจะได้รับ*
ในเดือนที่ 1 พละกำลังดีขึ้น ความเหน็ดเหนื่อยเมื่อยล้าหายไป สีผิวกระจ่างขึ้น
ในเดือนที่ 2.การนอนหลับดีขึ้น ความมีชีวิตชีวากลับคืนมา ผิวหนังที่แห้งเหี่ยวจะนุ่มชุ่มชื้นขึ้น
ในเดือนที่3 การนอนหลับดีขึ้นมากและตื่นขึ้นมาไม่อ่อนเพลีย ระบบย่อยอาหารดีขึ้น ผิวหนังจะละเอียดขึ้นและนุ่มขึ้น ทั่วทั้งตัว
ในเดือนที่ 4 การนอนหลับเป็นปกติ พละกำลังดี สมรรถภาพทางเพศดีขึ้น รอยดำ
ในเดือนที่ 5 ความจำดีขึ้น ผิวหนังจะดีขึ้นไปอีกทั้งละเอียด นุ่มและมีความยืดหยุ่น
ในเดือนที่ 6 ระบบภูมิคุ้มกันจะดีร่างกายอยู่ในภาวะที่แข็งแรงในทุก ๆ ด้าน
*ผลลัพธ์แตกต่างในแต่ล่ะบุคคล
Biotherapy
ศาสตร์แห่งการย้อนเวลาผิว และผลัดเซลล์ผิวที่เสื่อมสภาพให้เป็นเซลล์ผิวใหม่ ที่ USFDA ยอมรับ
กระตุ้นการสร้างคอลลาเจนและอีลาสติน ช่วยให้ผิวตึงกระชับ ลดเลือนริ้วรอยแห่งวัย ฟื้นฟูผิวให้อิ่มฟู อ่อนเยาว์ขึ้นบำรุงผิวหน้าให้เนียนนุ่ม กระจ่างใสไม่หมองคล้ำ ลดการทำงานของเม็ดสีเมลานิน
Adrenal Fatigue
“ต่อมหมวกไตล้า” คือ ฮอร์โมนต่าง ๆ ที่ผลิจากต่อมหมวกไตขาดสมดุล
ก่อนอื่นเลยเรามารู้จักกับภาวะต่อมหมวกไตล้า (Adrenal Fatigue) ซึ่งแน่นอนว่าต้องเกี่ยวกับต่อมหมวกไต คือต่อมไร้ท่อ ที่มีลักษณะเหมือนหมวกครอบอยู่บนไตทั้งสองข้าง ทำหน้าที่ผลิตฮอร์โมนที่สำคัญ ๆ ให้ร่างกายหลายอย่าง พอต่อมหมวกไตล้า ฮอร์โมนต่าง ๆ ที่ผลิตจากต่อมหมวกไตก็เลยขาดสมดุล”ต่อมหมวกไตล้า” คือฮอร์โมนต่างๆ ที่ผลิตจากต่อมหมวกไตขาดสมดุล
ก่อนอื่นเลยเรามารู้จักกับภาวะต่อมหมวกไตล้า (Adrenal Fatigue) ซึ่งแน่นอนว่าต้องเกี่ยวกับต่อมหมวกไตคือต่อมไร้ท่อ ที่มีลักษณะเหมือนหมวกครอบอยู่บนไตทั้งสองข้าง ทำหน้าที่ผลิตฮอร์โมนที่สำคัญ ๆ ให้ร่างกายหลากอย่าง พอต่อมหมวกไตล้า ฮอร์โมนต่าง ๆ ที่ผลิตจากต่อมหมวกไตก็เลยขาดสมดุล มาดูกันหน่อยว่าฮอร์โมนที่ต่อมหมวกไตทำหน้าที่ผลิตจะมีตัวสำคัญ ๆ ตัวไหนบ้าง
อาการที่เกิดของแต่ละคน
ตื่นยาก ตื่นแล้วไม่สดชื่น กลางคืนไม่อยากนอน
รู้สึกอ่อนเพลีย ไม่มีแรงตลอดวัน
อยากทานเกลือ หรืออาหารรสเค็ม
ความรู้สึกทางเพศลดลง
หงุดหงิดง่าย โมโหกับเรื่องเล็กน้อย
ปวดหัว เวียนศีรษะเวลาลุกนั่งเร็ว ๆ