WOMEN’S HORMONE & ANTI-AGING
ร่างกายของผู้หญิงวัย 30+ จะอยู่ภายใต้อิทธิพลการควบคุมของฮอร์โมน โดยเฉพาะการทำงานของระบบต่าง ๆ ในร่างกายหมายความว่าหากระดับฮอร์โมนของคุณขาดสมดุล มีปริมาณมากหรือน้อยเกินไป อาจก่อให้เกิดหลากหลายปัญหาสุขภาพ อาทิ รอบเดือนผิดปกติ ปัญหาการมีบุตรยาก อารมณ์แปรปรวน และอื่น ๆ เนื่องจากอายุที่ยังไม่มาก จึงยังไม่ตระหนักถึงอาการเหล่านี้ ที่อาจเป็นผลมาจากภาวะฮอร์โมนขาดความสมดุล และปล่อยให้อาการที่ผิดปกติเหล่านี้ผ่านเลยไปโดยไม่ได้รับการฟื้นฟูดูแล อย่างไรก็ดี ลองมาดูกันว่าฮอร์โมนหลัก ๆ ที่มีผลต่อร่างกายของผู้หญิง ประกอบด้วยอะไรบ้าง
Woman's Hormone check up
-
Estrogen E2
เป็นฮอร์โมนเพศหญิงที่ร่างกายเราสามารถผลิตได้เอง
-
Progesterone
ตรวจระดับฮอร์โมน Progesterone เป็นฮอร์โมนเพศหญิงที่เกี่ยวข้องกับประจำเดือนและการตั้งครรภ์
-
Testosterone
ฮอร์โมนTestosteroneเป็นฮอร์โมนสเตียรอยด์ที่พบในทั้งผู้ชายและผู้หญิง โดยมีบทบาทสำคัญในการเจริญเติบโต การทำงาน และการดูแลเนื้อเยื่ออวัยวะ เจริญพันธุ์ต่างๆ สำหรับผู้หญิง
-
Thyroid Hormone free T3
สร้างจากต่อมไทรอยด์ โดยปกติจะผลิตออกมาน้อยกว่า T4 แต่จะแอคทีฟน้อยกว่า T4 ถึง 10 เท่า
-
Thyroid Hormone free T4
สร้างจากต่อมไทรอยด์
-
DHEA
เป็นฮอร์โมนที่บ่งบอกถึงภาวะชรา และมีความสามารถช่วยต้านความชรา ลดการสะสมของไขมัน เพิ่มภูมิคุ้มกันให้แก่ร่างกาย
-
LH
ฮอร์โมนนี้เกี่ยวกับการสืบพันธุ์ที่จะกระตุ้นออกมาช่วงตกไข่ถ้าใครไม่มีฮอร์โมน นี้ก็จะไม่สามารถมีลูกได้ แต่ถ้ามีค่า LH สูงก็อาจจะเป็นซีสต์ในรังไข่ได้
-
FSH
เป็นฮอร์โมนที่กระตุ้นให้ไข่สุก ถ้าไม่มีตัวนี้ก็จะทำให้เป็นหมันได้
-
Vit D
ช่วยในการดูดซึมแคลเซียมและฟอสฟอรัสจากอาหาร และรักษาระดับแร่ธาตุ ดังกล่าวในเลือดให้เป็นปกติ
-
TSH
เป็นฮอร์โมนที่สร้างจากต่อมใต้สมอง ทำหน้าที่กระตุ้นให้ต่อมไทรอยด์ให้สร้าง ฮอร์โมน T3 (triiodothyronine) และ T4 (thyroxine) เพื่อใช้ในการเผาผลาญ พลังงานของร่างกาย
-
CBC
คือการตรวจเลือดวิธีหนึ่งที่ใช้วัดสุขภาพโดยรวมของผู้ป่วยได้ส่วนหนึ่ง
-
G6PD
G6PDเป็นชื่อย่อของเอมไซม์ กลูโคส-ซี-ฟอสเฟตดีไฮไดรจิเนส ซึ่งเป็นเอนไซม์ ที่มีอยู่ในเม็ดเลือดแดง มีประโยชน์ในการป้องกันการทำลายของเม็ดเลือดแดง จากยาหรือสารเคมีบางชนิด และทำให้เซลล์ต่างๆในร่ายกาย รวมทั้งทำให้เม็ด เลือดแดงแข็งแรง
Free ตรวจ Biomarker มะเร็ง 5 รายการ
-
Alpha Fetoprotein (AFP)(BGH)
เป็นการตรวจทางชีวเคมีที่ใช้กันอย่างแพร่หลายมากที่สุดสำหรับการวินิจฉัยโรคมะเร็งตับ
-
Carcinoembryonic Antigen (CEA)(BGH)
ตรวจค้นหาค่าโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ เป็นแอนติเจนในกลุ่ม Oncofetal antigen ชนิดหนึ่ง ซึ่งเป็น serum glycoprotein ที่มี molecular weight 180 kd สร้างเป็นปกติจาก เซลล์ลำไส้ ตับ และตับอ่อนของ ทารกในครรภ์ที่มีอายุครรภ์ประมาณ 2-6 เดือน ในคนปกติสามารถ ตรวจพบ CEA สูงได้เล็กน้อยในคนที่สูบบุหรี่, หญิงตั้งครรภ์ที่มีอายุ ครรภ์ไม่เกิน 6 เดือน
-
Cancer Antigen 125 (Ovary Cancer)
คือ โปรตีนชนิดหนึ่ง ที่เป็นสารบ่งชี้ในการตรวจ มะเร็งลำไส้ใหญ่ CEA ใช้ในการตรวจวินิจฉัยและตรวจประเมินผลการรักษาโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ ซึ่งเป็นไกลโคโปรตีน ( Glycoprotein ) ชนิดหนึ่ง ไกลโคโปรตีน (Glycoprotein ) มีบทบาทในการจดจำเซลล์เป้าหมายของเชื้อก่อโรค หากเจาะเลือดไปตรวจค่าเลือด แล้วพบการหลั่งสาร CEA มากกว่าค่าปกติ อาจเป็นมะเร็งลำไส้ใหญ่ได้
-
Cancer Antigen 15-3 (Breast Cancer)
คือ สารโปรตีน ( Glycoprotein ) ที่หลั่งจากเซลล์เนื้อเยื่อที่มีความผิดปกติ โดยเฉพาะจากเซลล์มะเร็งของเต้านมซึ่งใช้ในการวัดค่าเพื่อหามะเร็งเต้านม หรือเพื่อติดตามผลการรักษามะเร็งเต้านมที่มีการแพร่กระจาย และการกลับเป็นใหม่ของโรคหลังการรักษา แต่ไม่นิยมใช้ในมะเร็งเต้านม ระยะแรกเริ่ม
-
Carbohydrate Antigen 19-9 (Digestive Tract)
คือ สารที่ใช้ในการวัดค่า มะเร็งทางเดินอาหาร ซึ่งจะใช้วิธีการตรวจเลือด เพื่อคัดกรอง โดยโรคมะเร็งที่นิยมตรวจด้วยวิธีนี้คือ มะเร็งลำไส้ใหญ่ มะเร็งกระเพาะอาหาร มะเร็งท่อน้ำดีและมะเร็งตับอ่อน เป็นต้น
Product lists
Hormonal Imbalance
โรคปัสสาวะเล็ด เรื่องใหญ่ที่ไม่ควรมองข้าม
เพราะนอกจากจะส่งผลกระทบต่อร่างกายแล้ว ยังส่งผลกระทบต่อจิตใจอีกด้วย บางคนถึงขั้นต้อง
ตื่นกลางดึกเพราะมาเข้าห้องน้ำ บางคนต้องเดินทางไกลไม่สามารถหาห้องน้ำเข้าได้ ก็ต้องลำบากอาจจะกังวลจนไม่สามารถใช้ชีวิตตามปรกติได้และสาเหตุจากการที่นอนหลับพักผ่อน
ไม่เพียงพอก็ก่อให้เกิดอาการอ่อนเพลียไม่สามารถทำงานได้อย่างเต็มที่
ผู้หญิงบางคนอาจจะไม่อยากเข้าสังคมเพื่อร่วมกิจกรรมต่างๆเพราะอาย หรือกังวลเรื่องห้องน้ำมาก
นอกจากนี้ ยังต้องมีค่าใช้จ่ายในส่วนของผ้าอนามัยหรือแผ่นรองซับเพิ่มขึ้น ปัสสาวะเล็ดเป็นปัญหา
ที่บั่นทอนคุณภาพชีวิตในสังคม ทำให้มีปัญหาในการปรับตัวเข้ากับสังคม การใช้ชีวิตประจำวัน
การประกอบอาชีพ การดูแลทำความสะอาดสรีระร่างกาย รวมถึงปัญหาในเรื่องการมีเพศสัมพันธ์
ทำให้เกิดความเครียด กังวล
อยากรู้หรือยังถ้าอยากรู้ตามมาอ่านเลย
Stem Cell Therapy
น้องสาวแห้ง “ไม่มีอารมณ์ร่วมในบทรัก” เพราะถูกกระตุ้นยังไงก็ไม่ถึงฝั่ง นั่นเริ่่มเป็นปัญหา เริ่มต้นของภาวะน้องสาวแห้ง
ถูกเข้าใจผิดเรื่อง “ไม่มีอารมณ์ร่วมในบทรัก” เพราะถูกกระตุ้นยังไงก็ไม่ถึงฝั่ง นั่นเริ่่มเป็นปัญหาเริ่มต้นของภาวะน้องสาวแห้ง สามารถเกิดขึ้นได้ในผู้หญิงทุกช่วงวัย เมื่อมีภาวะขาดฮอร์โมนเอสโตรเจน
แต่ส่วนใหญ่มักเกิดในผู้สูงอายุเมื่อเข้าสู่วัยหมดประจำเดือนไปแล้ว ภาวะน้องสาวแห้งเกิดจากการที่น้องสาวไม่ยืดหยุ่น มีน้ำหล่อลื่นออกมาไม่เพียงพอ ทำให้เกิดความเจ็บปวดขณะมีเพศสัมพันธ์ และมีเลือดออกหลังมีเพศสัมพันธ์ การมีภาวะน้องสาวแห้งอาจทำให้บางคนเป็นกระเพาะปัสสาวะอักเสบซ้ำๆ บ้างก็มีอาการแสบร้อนและภายคันในแม้ไม่ได้มีเพศสัมพันธ์ก็ตาม
หลายคนอาจจะมองว่า เรื่องเล็กแต่มันไม่เล็กนะสิ
พร้อมจะมีเพียงเราเป็น 1 ตลอดไป แล้ว Revergin คืออะไรใช่มั้ย อยากรู้หรือยังถ้าอยากรู้ตามมาอ่านเลย
Perimenopause & Menopause
น้องสาวหน้าตาเปลี่ยนไป? ทำไมไม่สดใสเหมือนวันแรกที่เจอ ทำไมไม่สดใสเหมือนเมื่อก่อน
ปัญหาเหล่านี้อาจจะทำให้เราไม่มั่นใจเมื่อบรรเลงบทรัก แม้จุดซ่อนเร้นจะเป็นเรื่องลับๆ แต่ก็ไม่ใช่
เรื่องที่เราควรจะมองข้าม ถ้าเราบอกว่าเราสามารถทำให้สีของน้องสาวกลับมาสดสวยเหมือนแรกแย้มได้
โดยที่ไม่ต้องผ่าตัด ต้องฉีดยา หรือกินยาเลย
แถมยังไม่ใช่แค่เรื่องสีสันของน้องสาวแต่สามารถครอบคลุมเรื่องน้องสาวได้ทุกสาเหตุอีกด้วย ถึงแม้น้องสาวของคุณผู้หญิงจะดำคล้ำจากหลายปัจจัย อาจจะไม่ใช่แค่มีเพศสัมพันธ์บ่อยก็สามารถดำ
คล้ำได้ แต่จะดีกว่ามั้ยถ้าได้น้องสาวที่สีสันสดสวยอยู่ตลอดเวลา และทำให้เรามั่นใจ ทำให้แฟนรักแฟนหลง
แน่นอนมันดีกว่าอยู่แล้ว
สาวๆอย่างเราต้องอยากเป็นนางฟ้าบนเตียงที่สวย หอมหวานไปทั้งตัว ไม่ว่าตรงไหนก็สวยงาม
น่าสัมผัสไปหมด ทำให้คู่รัก ทั้งรัก ทั้งหลง และอยากจะถนุถนอมและมีเราเพียงคนเดียวตลอดไป เรามีหนึ่ง
ตัวเลือกที่ดีที่สุดมาให้คุณผู้หญิง รับรองไม่ว่าตรงไหนก็น่ากินไปหมด !! ด้วยเทคโนโลยี New ThermiVa สามารถฟื้นฟูน้องสาวให้กลับมาสีสันสดสวย การทำจะมีความรู้สึกอุ่นๆ เพราะเราใช้ Heat Protector Gel
ความบริสุทธ์สูง ไม่ก่ออาการแพ้ บริสุทธิ์ 100% (Made in USA)
Adrenal Fatigue
“ต่อมหมวกไตล้า” คือ ฮอร์โมนต่าง ๆ ที่ผลิตจากต่อมหมวกไตขาดสมดุล
ก่อนอื่นเลยเรามารู้จักกับภาวะต่อมหมวกไตล้า (Adrenal Fatigue) ซึ่งแน่นอนว่าต้องเกี่ยวกับต่อมหมวกไต คือต่อมไร้ท่อ ที่มีลักษณะเหมือนหมวกครอบอยู่บนไตทั้งสองข้าง ทำหน้าที่ผลิตฮอร์โมนที่สำคัญ ๆ ให้ร่างกายหลายอย่าง พอต่อมหมวกไตล้า ฮอร์โมนต่าง ๆ ที่ผลิตจากต่อมหมวกไตก็เลยขาดสมดุล
อาการที่เกิดของแต่ละคน
ตื่นยาก ตื่นแล้วไม่สดชื่น กลางคืนไม่อยากนอน
รู้สึกอ่อนเพลีย ไม่มีแรงตลอดวัน
อยากทานเกลือ หรืออาหารรสเค็ม
ความรู้สึกทางเพศลดลง
หงุดหงิดง่าย โมโหกับเรื่องเล็กน้อย
ปวดหัว เวียนศีรษะเวลาลุกนั่งเร็ว ๆ